(พงศ. ประเสริฐ) คือ
- มาจาก พงศาวดาร ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ในประชุมพงศาวดาร ภาค ๑
- พง ๑ น. ดงหญ้าหรือดงไม้ที่เป็นหมู่ ๆ หรือที่รก ๆ เช่น ป่าดงพงพี รกเป็นพง. ๒ ดู แขม ๑ และ เลา ๑ .
- พงศ พงสะ-, พง น. เชื้อสาย, เทือกเถา, เหล่ากอ, สกุล. ( ส. ; ป. วํส).
- ศ. ศุกร์ วันศุกร์ ศาสตราจารย์ โปรเฟสเซอร์
- ปร ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ประ ปฺระ ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร
- ประเสริฐ ปฺระเสิด ว. วิเศษ, ดีเลิศ, ดีที่สุด.
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- เส ก. เฉ, ไถล, เช่น เสไปพูดเรื่องอื่น, เชือนแช เช่น เสความ.
- สร สฺระ- คำนำหน้าคำอื่นที่ใช้ในบทกลอนเพื่อความสละสลวย เช่น ดื่น เป็น สรดื่น, คำที่แผลงมาจากคำที่ขึ้นต้นด้วยตัว ส ซึ่งใช้ในบทกลอน เช่น สนุก เป็น
- ริ ก. เริ่มคิดหรือทำแปลกจากปรกติ (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ริสูบบุหรี่ ริเที่ยวกลางคืน, ริอ่าน ก็ว่า.
- ความประเสริฐ ความยิ่งยวด ความสูงส่ง
- อย่างประเสริฐ ดʼเลิศ มีคุณธรรมสูง มีตระกูลสูง อย่างกล้าหาญ อย่างสง่างาม อย่างยอดเยี่ยม อย่างดีเลิศ
- หนทางประเสริฐ ทางสายกลาง
- (ประชุมพงศ.) มาจาก ประชุมพงศาวดาร ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ, เลขบอกภาค
- (ประชุมพงศ. ภาค ๒) มาจาก ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๒ ฉบับโรงพิมพ์บำรุงนุกูลกิจ พ.ศ. ๒๔๗๐